วันพฤหัสบดีที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

จำนวนเฉพาะ

เรื่องที่7 จำนวนฉพาะ



ในคณิตศาสตร์ จำนวนเฉพาะ (อังกฤษ : prime number) คือ จำนวนธรรมชาติที่มีตัวหารที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ 1 กับตัวมันเอง ตรงข้ามกับจำนวนประกอบ
ลำดับของจำนวนเฉพาะเริ่มต้นด้วย
2357111317192329313741434753596167717379838997101103107109113...
(ลำดับ OEISA000040)
ดูบทความ รายชื่อจำนวนเฉพาะ สำหรับจำนวนเฉพาะ 500 จำนวนแรก สำหรับเลข 1 ไม่ถือว่าเป็นจำนวนเฉพาะตามนิยาม
เซตของจำนวนเฉพาะทั้งหมดมักเขียนแทนด้วย  เนื่องจาก 2 เป็นจำนวนเฉพาะตัวเดียวที่เป็นเลขคู่ ดังนั้นคำว่า จำนวนเฉพาะคี่ จะถูกใช้เพื่อหมายถึงจำนวนเฉพาะทั้งหมดที่ไม่ใช่ 2




การหาร


เรื่องที่6






การหาร (อังกฤษdivision) ในทางคณิตศาสตร์ คือ การดำเนินการเลขคณิตที่เป็นการดำเนินการผันกลับของการคูณ และบางครั้งอาจมองได้ว่าเป็นการทำซ้ำการลบ พูดง่าย ๆ คือการแบ่งออกหรือเอาเอาออกเท่า ๆ กัน จนกระทั่งตัวหารเหลือศูนย์ (หารลงตัว)
ถ้า
a × b = c
เมื่อ b ไม่เท่ากับ 0 แล้ว
a = c ÷ b
(อ่านว่า "c หารด้วย b") ตัวอย่างเช่น 6 ÷ 3 = 2 เพราะว่า 2 × 3 = 6
ในนิพจน์ข้างบน a คือ ผลหารb คือ ตัวหาร และ c คือ ตัวตั้งหาร
นิพจน์ c ÷ b มักเขียนแทนด้วย  โดยเฉพาะในคณิตศาสตร์ขั้นสูง (รวมถึงการประยุกต์ในวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม) และในภาษาโปรแกรม การเขียนแบบนี้ มักใช้แทนเศษส่วน ซึ่งยังไม่ต้องการหาค่า
ในภาษาอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ c ÷ b มักเขียนว่า c : b ซึ่งในภาษาอังกฤษ จะใช้เครื่องหมายทวิภาค (:) เมื่อมันเกี่ยวข้องกับสัดส่วน
สำหรับการหารด้วยศูนย์นั้น ไม่นิยาม

ความน่าจะเป็น

เรื่องที่5ความน่าจะเป็น



ความน่าจะเป็น
P(E) = n(E)
            n(S)
S= { HH , HT , TH , TT}=4 เหตุการณ์
n(E) = 4
p(E) = 4
           4
         =1

การคูณ

เรื่องที่4การคูณ




การคูณเลข
 ให้หาผลคูณต่อไปนี่ 
5 * 4 = 20
10*15 = 150
    8*6= 48

อสมการเชิงเส้นตัวแปลดียว

เรื่องที่3





โจทย์ปัญหาอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

ในบทนี้เราจะมาลองดูโจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและวิธีแก้
ปัญกากันครับ

ตัวอย่างโจทย์ปัญหา


โจทย์ ถ้าเจ็ดเท่าของเงินจำนวนหนึ่ง เมื่อใช้ไป 35 บาท จะมีค่าน้อยกว่า 5 เท่าของเงินจำนวนนั้นเมื่อได้รับเพิ่มขึ้น 64 บาท จงหาเงินจำนวนนั้นเป็นจำนวนเต็มบวกที่มากที่สุด(ที่มา หนังสือ top ชั้น ม.3 วิชาคณิตศาสตร์)

วิธีทำ
สมมติเงินจำนวนนั้นคือ x บาท
แต่เจ็ดเท่าของเงินจำนวนนั้นเมื่อใช้ไป 35 บาท จะมีค่าน้อยกว่า 5 เท่าของเงินจำนวนนั้นเมื่อได้รับเพิ่มขึ้น 64 บาท

จะได้
7x - 35 < 5x + 64
7x - 5x < 64 + 35
2x < 99
x < 49(1/2)

ดังนั้น จำนวนเงินจำนวนนั้นที่เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากที่สุด คือ 49 บาท

การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสอง

เรื่องที่2





  การแยกตัวประกอบของพหุนามที่มีดีกรีสองและมีตัวแปรเดียว  ที่แต่ละพจน์มีสัมประสิทธิ์เป็นจำนวนเต็ม

            
ตัวอย่าง   ของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
                             3x2+ 4x + 5 , 
2x2– 6x – 1 , x2– 9 , y2+ 3y – 7 , -y2+ 8y
                    พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนในรูป  ax+ bx + c  เมื่อ  a , b , c  เป็นค่าคงตัวที่    0  และ  x  เป็นตัวแปร
           1.2.1  การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว
                     ในรูป  ax2 + bx + c  เมื่อ  a , b  เป็นจำนวนเต็ม และ  c  =  0
                     ในกรณีที่  c = 0  พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียวจะอยู่ในรูป  ax2+ bx  สามารถใช้สมบัติการแจกแจง  
            แยกตัวประกอบได้
            ตัวอย่างที่ 1   จงแยกตัวประกอบของ  x2 + 2x
            วิธีทำ            x2 + 2x       =   (x)(x) + (2)(x
                                                    =   x(x + 2) 

สามเหลี่ยมมุมฉาก

เรื่องที่1รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก



สมบัติของรูปสามเหลี่ยม
บทที่1ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
พิจารณารูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC ที่มี  ABC เป็นมุมฉาก
เรียก AB    ว่าด้านตรงข้ามมุมฉาก
เรียก AC  ว่าด้านประกอบมุมฉาก

จำนวนเฉพาะ

เรื่องที่7 จำนวนฉพาะ ใน คณิตศาสตร์   จำนวนเฉพาะ  ( อังกฤษ  : prime number) คือ  จำนวนธรรมชาติ ที่มี ตัวหาร ที่เป็นบวกอยู่ 2 ตัว คือ ...